สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
  • 39478เข้าชม
  • 26ตอบกลับ

ขอทรานิยามของคำว่า CINEMATOGRAPHY ที่แท้จริงหน่อยครับ

โพสต์
659
เงิน
24612
ความดี
22220
เครดิต
22966
จิตพิสัย
22999
จังหวัด
เชียงใหม่

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 15#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
อ้างอิง
อ้างอิงโพส 5 ต้นฉบับโพสโดย juud เมื่อ 2010-06-28 00:56  :
ก็คือการถ่ายหนังแหละนะ
Cinema + Graphy   ศิลปะเกียวกับถ่ายหนัง
Photo + Graphy ศิลปะเกียวกับถ่ายรูป
Porno + Graphy ศิลปะเกียวกับถ่ายรูปโป้
Video +Graphy  ศิลปะเกียวกับถ่ายวิดีโอ
.......



แล้ว

Videography กับ
Cinema้tography  

จะต่างกันยังไงดีอ่ะ
ake
โพสต์
4768
เงิน
34014
ความดี
117475
เครดิต
125435
จิตพิสัย
118050
จังหวัด
เชียงใหม่

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 16#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
ตอบกลับโพส 15 โพสของ (victormc49)
อ่าว... จะฝึกงานแล้วมีงง ผมก็งงตามสิครับ
ผมคิดว่า Cinema เป็นอย่างไร ทดเอาไว้ในใจ
อันไหนที่มีภาพ มีเสียง แต่ไม่ใช่ Cinema อันนั้นล่ะ Video   
ผมลองเดาๆดูจากที่เขียนไว้ครับ http://www.thaidfilm.com/read.php?tid=859#8247     
โพสต์
294
เงิน
8874
ความดี
8158
เครดิต
9246
จิตพิสัย
7082
จังหวัด

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 17#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
อ้างอิง
อ้างอิงโพส 15 ต้นฉบับโพสโดย victormc49 เมื่อ 2010-06-28 15:20  :



แล้ว

.......


อิอิ ผมสงสัยแบบนี้เหมือนกันครับ
โพสต์
260
เงิน
9463
ความดี
7836
เครดิต
8071
จิตพิสัย
7879
จังหวัด
นนทบุรี

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 18#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
มีลูกค้าถามผมเหมือนกัน ว่าพี่ถ่ายแบบ ซินีมาโตกราฟฟี่ใหมคะ
ผมก็บอกว่า ไม่รู้เหมือนกัน แต่ผมก็ใช้ DSLR ถ่ายนะครับ
จริงๆๆก็อยากจะถามกลับเหมือนกันว่ามันเป็นยังงัยบ้างครับ
ซินีมาโตกราฟฟี่
55555
โพสต์
1410
เงิน
42427
ความดี
44960
เครดิต
45642
จิตพิสัย
51478
จังหวัด
ขอนแก่น

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 19#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
เห็นด้วยกับคุณdslrครับ
วัดกันง่ายๆ
ถ้าคนดูงานเราส่วนมาก(โดยไม่ต้องชักจูงเค้าและเป็นคนทั่วไป ไม่ใช่ช่างเทคนิคแบบพวกเรา) บอกว่า เหมือนหนังเลย
นั่นล่ะ Cinematography
ถ้าเค้าไม่ว่าอะไร
มันอาจจะทำหน้าที่ได้เป็นVideographyเท่านั้นครับ
โพสต์
2233
เงิน
39418
ความดี
31452
เครดิต
30299
จิตพิสัย
73899
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 20#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
รากวัฒนธรรมของบ้านเรามันเริ่มจากหลายมาตรฐานน่ะครับ เกือบทุกๆอย่างที่เป็น made in thailand  มักมีหลายมาตรฐาน เมื่อไปเอาศัพท์เมืองนอกที่ มาตรฐานเขาเสถียรกว่า ความหมายมันจึงดิ้นไปได้เรื่อย

หนังบางเรื่องถ่ายเปนละคร ละครบางเรื่องถ่ายเปนหนัง

หนังเควนตินพูดเยอะ เดินเรื่องด้วยไดอะล๊อค ละครฝรั่งภาพยั๊งกับหนัง

สรุปง่ายๆคือ รากวัฒนธรรมบ้านเรามักจะให้ความสำคัญกับการแต่งกายก่อนเสมอ น้อยคนที่มักจะใช้เวลามอง พินิจพิเคราะห์ เครื่องแต่งกายนั้นเข้าไป เพื่อเข้าถึงจิตวิญญาณของสิ่งใดสิ่งหนี่งจริงๆ

อิอิ เกี่ยวกับ cinematophary บ้างไหมเนี่ย
โพสต์
420
เงิน
10004
ความดี
8399
เครดิต
7587
จิตพิสัย
6783
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 21#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
หลักใหญ่ผมคิดว่าน่าจะเป็นอย่างนี้นะครับ (นี่ความเห็นส่วนตัวบวกกับการได้อ่านหนังสือเกี่ยวกับหนัง
มาแล้วบวกกับประสบการณ์ในการได้เรียนรู้แลัวรับฟังจากผู้มีประสบการณ์ในสายอาชีพนี้)

ขึ้นอยู่กับวิธีการถ่าย หลักการคิด มุมมอง การวางแผนในการถ่าย การเลือกใช้อุปกรณ์ การทำงานเเพื่อรองรับ
การเล่าเรื่อง การแก้ปัญหา บลาๆๆ (จริงๆมีอีก เอาเท่านี้ก่อน)

วิธีการถ่าย คือ การถ่ายในรูปแบบไหน เหมาะกับหนังประเภทไหน หลักการคิดในองค์ประกอบภาพ
(Mis en scene) มุมมองในการถ่าย เพราะภาพยนตร์เป็นศิลปะแบบ 2 มิติ การเลือกมุมมองภาพแบบไหน
ให้มีมิติในภาพที่เราถ่ายภาพออกมา รวมไปถึงการคิด Visual Reception ผัสสะ การรับรู้ของการมองเห็นของภาพแบบ illumination 
การเลียนแบบแสงของธรรมชาติ การจัดแสง การเลือกใช้สีภายในภาพ เพื่อบ่งบอกอารมณ์ของหนัง การเลือกใช้อุปกรณ์เพื่อให้ซัพพอร์ตของเนื้อเรื่อง เช่น การเลือกใช้เลนส์ การเลือกใช้กล้องการเลือกใช้ Film Stock (ปัจจุบันเป็น Digital ก็เลือกใช้ กล้องที่ให้รายละเอียดของภาพที่ตอบโจทย์ของเรื่อง) หนังเล่าเรื่องเป็นเรื่องราวที่นำแต่ละช็อตมาเรียงต่อกันจนเกิดเรื่องราว  (Montage) จึงต้องคิดว่าแต่ละช๊อต เมื่อตอนถ่ายแล้วนำมาตัดต่อแล้วสามารถเล่าเรื่องตามแบบที่ผู้กำกับอยากถ่ายทอดเรื่องราวให้กับคนดูได้เข้าใจ

คำว่า Cinematography เป็นแค่คำที่ใช้เรียกแทนสิ่งหนึ่งๆเท่านั้น ความหมายที่แท้จริง ไม่ได้อยู่ที่เราจะบอกว่าเราบอกว่าเราทำแบบ  Cinematography แต่เป็นคนอื่นที่ยอมรับเราแล้วเห็นผลงานของเราแล้วคิดว่าเรา
ทำแบบ Cinematography ต่างหาก แม้แต่เราถ่ายหนังด้วยมือถือ ถ้าเราใส่ใจ ตั้งใจ มีมุมมองภาพที่สามารถซัพพอร์ตการเล่าเรื่องได้ ก็ยังถือว่าเป็น  Cinematography เลย ส่วน Videography ก็เป็นอีกแนวทางการถ่ายที่แตกต่างกันที่มีวิธีการทำงานที่เหมาะสำหรับประเภทงานที่ได้ทำบางทีก็ไม่สามารถคิดแบบ Cinematography เพราะงานอาจจะไม่เหมาะสำหรับการคิดแบบนี้ครับ

บันทึกคะแนนนี้โพสต์ล่าสุด: รวม 2 คะแนน ซ่อน
ake เงิน +1 2010-06-28 ขอบคุณครับ
anantachat เงิน +1 2010-06-28 ชอบครับชอบ
โพสต์
294
เงิน
8874
ความดี
8158
เครดิต
9246
จิตพิสัย
7082
จังหวัด

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 22#  โพสต์เมื่อ: 2010-06-28
อ้างอิง
อ้างอิงโพส 21 ต้นฉบับโพสโดย jobfilm เมื่อ 2010-06-28 21:25  :
หลักใหญ่ผมคิดว่าน่าจะเป็นอย่างนี้นะครับ (นี่ความเห็นส่วนตัวบวกกับการได้อ่านหนังสือเกี่ยวกับหนัง
มาแล้วบวกกับประสบการณ์ในการได้เรียนรู้แลัวรับฟังจากผู้มีประสบการณ์ในสายอาชีพนี้)

ขึ้นอยู่กับวิธีการถ่าย หลักการคิด มุมมอง การวางแผนในการถ่าย การเลือกใช้อุปกรณ์ การทำงานเเพื่อรองรับ
การเล่าเรื่อง การแก้ปัญหา บลาๆๆ (จริงๆมีอีก เอาเท่านี้ก่อน)
.......


ขอบคุณทุกความเห็นครับ แต่สะดุดกับความเห็นนี้ครับ

ผมเองแอบรู้สึกลึกๆเหมือนกันว่า ถึงแม้เราจะว่ากันโดยเอาท์พุทก็ตาม แต่เราก็ยังไม่สามารถจำแนกได้เป็นรูปธรรมในรูปแบบของ คุณลักษณะ ข้อ 1/2/3/4.... ว่าหากคุณดูสื่อเคลื่อนไหวเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้วมีคุณสมับติดังต่อไปนี้ มันจะจัดอยู่ในข่าว CINEMATOGRAPHY

แต่แท้จริงแล้ว นิยามของ CINEMATOGRAPHY เหมือนการจำแนกทางนามธรรมซึ่งมีการอ้างอิงหลักทฏษฏีศิลปะเข้ามาเกี่ยวข้อง ..ถูกต้องไหมครับ

นี่ขนาดพูดเองยังงงเองเลยเนี่ยครับ

5 5 5

อย่างไรก็ขอบคุณทุกท่านที่มาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันครับ

ระดับ : สมาชิก V
โพสต์
189
เงิน
5834
ความดี
3439
เครดิต
3463
จิตพิสัย
5982
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร

เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 23#  โพสต์เมื่อ: 2010-08-25
อ้างอิง
อ้างอิงโพส 7 ต้นฉบับโพสโดย tanum เมื่อ 2010-06-28 01:43  :



อาจารย์ผมเคยถามผมว่า ละคร กับภาพยนต์ต่างกันอย่างไร
.......




ขอแก้ เพื่อไม่ให้เกิดความเข้่าใจผิด ระหว่างละครทางทีวี กับ ภาพยนตร์นะคับ..อีกคำศัพท์หนึ่งที่ ต้องทำความเข้าใจคือ คำว่า Motion Picture แปลว่า ภาพเคลื่อนไหว.หรือภาพยนตร์ ที่เกิดจากการนำภาพนิ่งหลายๆภาพมาฉาย จึงทำให้เห็นความต่อเนื้่องของภาพ สายตาเราจึงเห็นว่าภาพมันเคลื่อนไหวได้..รายละเอียดลึกๆไม่ขอเอ่ยถึงคับ..
แต่จะขอ แก้ไข ตรงที่ว่า คำว่าละคร กับภาพยนตร์ จริงๆ แล้ว คือสิ่งเดียวกัน..ก็คือภาพเคลื่อนไหว ที่เราเห็น แต่ต่างโดยสื่อ ที่ใช่..ละคร เราดูผ่านทีวี  ภาพยนตร์ เราดูเงาของฟิล์มที่ถกแสงจากเครื่องฉายส่องผ่าน..ปัจจุบันในระบบ digital ก็ยิงตรงจากเครื่องฉายเลย.. 
ผมจึงขอแก้ ว่า ละครทีวี กับ ภาพยนตร์ คือการถ่ายถอดด้วยภาพเคลื่อนไหว เหมือนกัน..แต่ต่างสื่อ...
แต่ที่อาจารย์ คุณยกตัวอย่างมานั้น..มันเป็นประเด็นของวิธีการเล่าเรื่องหรือรูปแบบการนำเสนอสาร ที่ผ่านสื่อครับ..วิธีการเล่าเรื่องไม่ได้ใช้มาแยกประเภทว่่านี้คือละคร หรือนี้คือภาพยนตร์..
ยกตัวอย่างให้ชัดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ละครทีวี ภาพยนตร์ สารคดี MV VDO Presentation งาน HomeVDO  พอเราเอามา เขียนเป็น แผ่น DVD มันก็อยุ่ใน Format เดียวกันหมด
และเหมือนกันหมด คือ แสดงโดยภาพเคลื่อนไหว..เพราะฉะนั้น การนำเสนอหรือการเล่าเรื่องไม่สามารถ นำมาใช้เพื่อแยก คำว่า ละครทีวี กับภาพยนตร์ได้ครับ..

โดยคำว่าละคร.. ก็ยังแตกแขนงไปได้อีก ว่า ละครเวที ละครทีวี ละครเร่..
แต่โดยส่วนใหญ่ที่คนไทย นิยมติดปากเรียกละครๆ ก็เพราะว่ามันคือภาพเคลื่อนไหวที่มีเรื่องราวยาวๆฉายในTV เราก็เรียนละครหมด..
เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น..ผมนำละครไปฉายในโรงหนัง โดยไม่บอกให้ใครรู้ว่าคือละคร.. เวลานักข่าวพูด ก็จะบอกว่า "ภาพยนตร์ เรื่องนี้ จะเข้าฉายเมื่อ....."  (ทั้งๆที่เวลาอยุ่ในทีวีเรียกละครทีวีเฉย..)

และเมื่อนำภาพยนตร์ มาฉายใน TV ไม่ยักจะเรียกว่าละคร.เริ่มงงกันแล้วช่ายไหมคับ..
เอาเป็นว่า..ให้มองหรือ Focus ไปแค่ว่า สิ่งที่เรามองเห็นด้วยตาโดยผ่านสื่อ แล้วมันเป็นภาพที่เคลื่อนไหว มันคือ ภาพยนตร์ หรือ Motion Picture 

ถ้าจะแบ่งประเภท ว่าอันไหน คือละครทีวี หรือ ภาพยนตร์หรือหนังที่ฉายกันในโรง กันจริงๆ..ให้ดูที่ความยาว และความต่อเนื่องคับ.
ถ้าถ่ายทอดเรื่องราว เป็นตอนๆ มีความยาว หลายตอน 10-30 ตอน  บ้านเราเรียกว่าละคร..ย้ำครับ..บ้านเราใช้คำว่าละคร หรือ หนัง เพื่อแยกประเภทสื่อเป็นหลักคับ..

ถ้ายังไม่เข้าใจ ลองดูซีรีย์ฝรั่งนะคับ หรือละครของเมื่องนอกนะคับ..ถ่ายแบบหนังเลย..เล่าเรื่องแบบหนังด้วย....แต่ก็ยังเรียกว่าซีรีย์หรือละคร อยู่ดี..

ความเห็นโดย
K1






ระดับ : สมาชิก I
โพสต์
2
เงิน
37
ความดี
107
เครดิต
44
จิตพิสัย
114
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 24#  โพสต์เมื่อ: 2013-07-20
The term cinematographer is derived from cinema photographer, and means someone who photographs with moving film. Sometimes referred to as the director of photography (DP or DoP), the cinematographer is responsible for capturing the film image as required by the script, under supervision of the director.
In large productions the cinematographer does not usually operate the camera, but directs and works closely with the camera operator and other camera staff. In some cases, especially smaller productions, the cinematographer and camera operator are the same person.

Note that some people take the term cinematographer to explicitly mean a director of photography who also operates the camera, but most people have a looser interpretation.
The cinematographer may be involved with location scouting, and will assist with planning lighting, film, shot composition, etc. How much creative control is given to the cinematographer depends on the director. Sometimes the cinematographer will be given complete control over camera functions and composition, in other cases the director will make all the decisions and the cinematographer is only required to make them happen.
The cinematographer may review processed film and make adjustments if necessary.
ระดับ : สมาชิก I
โพสต์
1
เงิน
14
ความดี
70
เครดิต
11
จิตพิสัย
98
จังหวัด
ปทุมธานี
เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 25#  โพสต์เมื่อ: 2017-04-03
กำลังพยายามเข้าใจครับ
ระดับ : สมาชิก II
โพสต์
13
เงิน
249
ความดี
267
เครดิต
231
จิตพิสัย
297
จังหวัด
นคราชสีมา
เฉพาะตอบกลับของผู้โพสต์ 26#  โพสต์เมื่อ: 2017-10-13
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

คุณไม่มีสิทธิ์ใช้งานส่วนนี้, กรุณาเข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้